Tuesday, July 24, 2018

ตัวอย่างการเขียนรหัสลำลองเเละผังงาน


การเขียนผังงาน

ผังงานมเป็นเครื่องมือหรึ่งที่ใช้ในการวางแผนหรือออกแบบการเเก้ปัญหา เพื่อให้สามารถนำไปปฎิบัติตามหรือเขียนโปรเเกรมเพื่อสั่งให้เครื่องคอมพิวเตอร์ทำงานได้ง่าย สถาบันมาตรฐานเเห่งชาติอเมริกา
(The American National Standard Institute:ANSI) ได้กำหนดสัญลักษณ์ที่เป็นมาตรฐานในการเขียนผังงานไว้ ซึ่งในที่นี้จะเเนะนำการใช้งาน 5 สัญลักษณ์พื้นฐาน ดังตาราง2.1 

Tuesday, July 17, 2018

การเขียนรหัสลำลองเเละผังงาน

รหัสลำลอง
การเขียนรหัสลำลองเป็นการใช้คำบรรยาอธิบายขั้นตอนอย่างชัดเจนในการเเก้ปัญหา หรือการทำงานของโปรเเกรมซึ่งรูปแบบการเขียนจะขึ้นอยู่กับประสบการณ์ เเละความถนัดของผู้เขียน โดยอาจเขียนเป็นภาษาพูด ทำให้เขียนง่ายไม่ต้องกังวลรูปแบบ

ตัวอย่าง รหัสลำลองการคำนวณหาพื้นที่สามเหลี่ยม

เริ่มต้น
1.รับค่าความยาวฐาน
2.รับค่าความสูง
3.คำนวณพื้นที่สามเหลี่ยมจากสูตร พื้นที่ Δ คือ 1/2 х ความยาวฐาน x ความสูง
4.เเสดงผลลัพธ์พื้นที่ Δ
จบ

ขั้นตอนการเเก้ปัญหา2



ปัญหาคือ พิมพ์เเป้นอักษรช้า

1.การวิเคราะห์เเละกำหนดรายละเอียดของปัญหา

1.ไม่เคยเรียนเลย
2.ไม่ถนัด
3.ไม่ค่อยได้ใช้


2.การวางเเผนการเเก้ปัญหา

1.หาคุณครู
2.หาโรงเรียน
3.เรียน
4.ฝึกบ่อยๆ

3.ดำเนินการเเก้ปัญหา

1.หาทางเน็ต
2.สมัครเรียน
3.เรียน
4.ทบทวน


4. การตรวจสอบเเละประเมินผล

1.พิมพ์ได้ดีขึ้นหรือไม่ ถ้าพิมพ์ไม่ดี เราก็กลับไปทำข้อ 1 ใหม่ ถ้าพิมพ์ได้ดีเเล้ว จบ

ขั้นตอนการเเก้ปัญหา


การเเก้ปัญหา 1

ทบทวนความรู้ก่อนเรียน
เขียนเครื่องหมาย  ✔️ หน้าข้อความที่ถูกต้อง
    ✅ การถ่ายทอดความคิดในการเเก้ปัญหาหรือการทำงาน อาจเขียนเป็นข้อความที่เเสดง           
ให้เห็นการเเก้ปัญหาหรือการทำงานที่่เป็นลำดับขั้นตอน
    ✅ การเเสดงลำดับขั้นตอนในการทำงานหรือแก้ปัญหา อาจใช้ภาพ สัญลักษณ์ ข้อความหรือการบอกเล่า
    ✅ หากพิจารณาลำดับขั้นตอนการทำงาน   สามารถบอกถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นได้

            ลองทำดู
                         เขียนอธิบายขั้นตอนการเดินทางมาโรงเรียนให้เพื่อนเข้าใจ เเละสามารถปฎิบัติตามได้


Tuesday, July 10, 2018

หน่วยที่ 3 กิจกรรมที่ 3

สรุปท้ายบท
การนำเเนวคิดเชิงนามธรรมไปใช้ในการเเก้ปัญหา สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการคัดเเยกคุณลักษณะ
ที่สำคัญออกจากรายละเอียดที่ไม่จำเป็น เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็น เพียงพอ เเละกระชับในการถ่ายทอด
องค์ประกอบของปัญหา ทำให้การเเก้ปัญหามีประสิทธิภาพมากขึ้น ช่วยให้การออกเเบบขั้นตอนวิธีในการหาคำตอบทำได้ง่ายขึ้น อีกทั้งยังเพิ่มโอกาสที่พบว่าปัญหาที่กำลังเเก้ไขเป็นสิ่งเดียวกันกับปัญหาเดิมที่เคยเเก้ไขเเล้ว ส่งผลให้สามารถวิธีการที่มีอยู่เเล้วมาประยุกต์ใช้งานได้โดยไม่ต้องออกเเบบวิธีการเเก้ปัญหาใหม่ตั้งเเต่ต้น

หน่วยที่3 กิจกรรมที่ 2

1 การเดินทางจากบ้านไปโรงเรียน303
ตอบ
1. รถจักรยานยนต์/รถจักรยาน เพราะ ระยะทางจากบ้านมันไกล
2.เชื้อเพลิงเติมรถ เพราะ ถ้าไม่มีเชื้อเพลิงเติมรถจะไม่สามารถขับรถจักรยานยนต์มาโณงเรียนได้
3. เเสงสว่าง เพราะ ถ้าไม่มีเเสงสว่างก็ไม่สามารถมองเห็นทางในการเดินทางมาโรงเรียนได้

หน่วยที่3 กิจกรรมที่ 1

ถาม ธนกฤต คือ  ธนกฤตอยากไปเที่ยวประเทศอะไร
JOP
JoP
jOp
Jop
jOP


เเนวคิดเชิงนามธรรม
เเนวคิดเชิงนามธรรม(abstract thinking หรือ abstraction) เป็นองค์ประกอบหนึ่งของเเนวคิดเชิงคำนวณ
(computational thinking) ซึ่งใช้กระบวนการคัดเเยกคุณลักษณะที่สำคัญออกจากรายละเอียดปลีกย่อย
ในปัญหา หรืองานที่กำลังพิจารณา เพื่อให้ได้ข้อมูลที่จำเป็นเเละเพียงพอ

ในการเเก้ปัญหาหนึ่งอาจมีวิธีการเเก้ปัญหาได้หลายวิธ๊ ขึ้นอยู่กับการมองปัญหา การมองเห็นรายละเอียด
เป้าหมายของโจทย์ปปัญหา เเละประสบการณ์ของผู้เเก้ปัญหา

ทำไทถึงมองว่าเป็นปากกา
- มีไส้หมึก
- มีปลอกหุ้มที่ปลายด้าน
-มีด้ามจับ
-มีที่หนีีบด้าม
-มีที่กดปากกา
-ด้ามจับเเข็ง